2. ข้อใดคือ จำเลย ศาลไต่สวนแล้วสั่งว่าคดีมีมูลให้ทำการประทับรับฟ้อง พนักงานอัยการยื่นฟ้องคดีต่อศาลแล้ว พนักงานสอบสวนและพนักงานอัยการมีคำสั่งฟ้องคดีต่อศาล ถูกข้อ 1 และ 2
3. ข้อใดไม่ใช่สิทธิของจำเลย แต่งทนายความแก้ต่างในชั้นไต่สวนมูลฟ้อง หรือพิจารณาในศาลชั้นต้นตลอดจนชั้นศาลอุทธรณ์และศาลฎีกา ปรึกษาทนายความหรือผู้ซึ่งจะเป็นทนายความเป็นการเฉพาะตัว ตรวจดูสิ่งที่ยื่นเป็นพยานหลักฐาน และคัดสำเนาหรือถ่ายรูปสิ่งนั้นๆ ให้ผู้ซึ่งตนไว้วางใจเข้าฟังการพิจารณาคดีของศาล
4. กรณีผู้เยาว์เป็นผู้เสียหาย ใครเป็นผู้มีอำนาจจัดการแทน ผู้อนุบาล ผู้พิทักษ์ ผู้แทนโดยชอบธรรม ผู้บุพการี
5. ข้อใดไม่ใช่พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจชั้นผู้ใหญ่ นายกรัฐมนตรี ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอำเภอ ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ
6. การที่บุคคลอื่นซึ่งไม่ใช่ผู้เสียหาย ได้กล่าวหาต่อเจ้าหน้าที่ ว่ามีบุคคลรู้ตัวหรือไม่ก็ดีได้กระทำความผิด อย่างหนึ่งขึ้น เรียกว่า คำร้องทุกข์ คำกล่าวโทษ คำร้องเรียน คำกล่าวหา
7. ข้อใดถูกเกี่ยวกับ “หมายอาญา ” หมายจับ หมายขัง หมายจำคุก ถูกทุกข้อ
8. นายเอกเป็นผู้จัดการของร้านแสงชัย หลอกลวงนายโทลูกค้า ว่า ร้านแสงชัย ขึ้นราคาสินค้า นายโทหลงเชื่อ จึงซื้อในราคาที่สูงจากราคาที่แท้จริง แล้วนายเอกได้เอาเงินส่วนที่ขายเกินราคาเป็นของตนเอง ดังนี้ถือว่าใครเป็นผู้เสียหาย นายโท เจ้าของร้านแสงชัย นายเอก ข้อ 1 2 3 เป็นผู้เสียหาย
9. ผู้รับฝากเงินมีอำนาจเอาเงินที่รับฝากไปใช้จ่ายได้ และมีหน้าที่คืนเงินแก่ผู้ฝากให้ครบจำนวน ฉะนั้น การที่ผู้รับฝาก จ่ายเงินให้แก่จำเลยไปเพราะถูกจำเลยหลอกลวง ดังนี้ ใครเป็นผู้เสียหาย ผู้รับฝาก ผู้ฝาก ผู้รับฝากและผู้ฝาก เจ้าพนักงานผู้รับแจ้ง
10. นายสิงห์ได้นำใบบันทึกรายการขายปลอมของนายเสือผู้ถือบัตรเครดิตที่ถูกปลอมลายมือชื่อไปใช้เบิกเงินจากธนาคาร ดังนี้ ใครเป็นผู้เสียหายในเงินที่ถูกเบิกเอาไป ธนาคาร นายเสือ พนักงานธนาคาร ข้อ 1 , 2 และ 3 ไม่เป็นผู้เสียหายเพราะเป็นความรับผิดทางแพ่ง
11. นายโก๋ตกลงซื้อธนบัตรปลอมจากนายเก่งโดยนายเก่งใช้อุบายหลอกลวงให้ซื้อและนายโก๋ก็รู้ว่าเป็นธนบัตรปลอม ดังนี้ ถือว่านายโก๋เป็นผู้เสียหายในความผิดฐานฉ้อโกงหรือไม่ เป็นผู้เสียหาย ไม่เป็นผู้เสียหาย เป็นเพราะถูกฉ้อโกง ไม่เป็นเพราะการปลอมธนบัตรรัฐเท่านั้นเป็นผู้เสียหาย
12. จำเลยเบิกความเท็จในการพิจารณาไต่สวนเพื่อให้ศาลสั่งอนุญาตให้จำเลยฟ้องคดีอย่างคนอนาถา (ในคดีแพ่ง) ดังนี้ โจทก์เป็นผู้เสียหายในความผิดฐานเบิกความเท็จหรือไม่ ไม่เป็นเพราะเป็นข้อความเกี่ยวกับเรื่องส่วนตัวของจำเลย ไม่เกี่ยวกับโจทก์ เป็น เพราะเมื่อศาลรับฟ้องไว้แล้วโจทก์จะได้รับความเสียหาย ไม่เป็นเพราะเป็นการเบิกความเท็จในคดีแพ่ง เป็น เพราะหากเบิกความเท็จต่อศาลแล้วอาจทำให้โจทก์แพ้คดีได้
13. นายอินทร์แจ้งความร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวนว่า นายจันทร์ลักทรัพย์ตนอันเป็นความเท็จ ทำให้นายจันทร์ถูกดำเนินคดีอาญา ดังนี้ ใครเป็นผู้เสียหาย นายจันทร์ พนักงานสอบสวนผู้รับแจ้ง อัยการผู้ฟ้องคดี ถูกข้อ 1 และ 2
14. โจทก์ที่ 1 เป็นเจ้าของสถานที่ที่จำเลยแจ้ง โจทก์ที่ 2 เป็นกรรมการผู้จัดการผู้มีอำนาจทำการแทนโจทก์ที่ 1 จำเลยแจ้งเท็จถึงสถานที่ว่ามีสิ่งของผิดกฎหมายซุกซ่อนอยู่ในสถานที่นั้น โดยไม่ได้ระบุถึงโจทก์ที่ 1 และโจทก์ที่ 2 ซึ่งเป็นผู้ครอบครองสถานนั้น ดังนี้ ใครเป็นผู้เสียหายในความผิดฐานแจ้งความเท็จ โจทก์ที่ 1 โจทก์ที่ 2 ไม่มีใครเป็นผู้เสียหายได้เพราะเป็นการแจ้งเกี่ยวกับสถานที่ ถูกข้อ 1 และ 2
15. พยานโจทก์ในคดีอาญาไม่มาเบิกความต่อศาลตามนัดโดยอ้างว่าป่วยซึ่งเป็นความเท็จ ดังนี้ โจทก์เป็น ผู้เสียหายหรือไม่ ไม่เป็นเพราะความเสียหายไม่ได้เกิดแก่โจทก์โดยตรง เป็น เพราะทำให้ไม่ได้สืบพยานในวันนั้น ไม่เป็น เพราะคดีอาญาจำเลยมีสิทธิที่กระทำประการใด ๆ ก็ได้ เป็น เพราะถือว่าแถลงเท็จต่อศาลมีผลต่อโจทก์ในการฟ้องคดี
16. นายหนึ่งยักยอกทรัพย์ของบริษัท โดยมีนายสองเป็นกรรมการ ดังนี้ ใครเป็นผู้เสียหาย บริษัท นายสอง ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งคนใด ตามข้อ 1, 2 และ 3 เป็นผู้เสียหาย
17. รถยนต์เป็นของนายโชค โดยนายชัยเป็นผู้ครอบครองและใช้รถยนต์นั้นอยู่ นายจนได้ลักรถยนต์นั้นไปจาก นายชัย ดังนี้ ใครเป็นผู้เสียหายในความผิดฐานลักทรัพย์ นายชัย นายโชค นายโชคและนายชัย เจ้าพนักงานผู้รับแจ้ง
18. บุตรโจทก์ถูก ส. ขับรถยนต์ชนถึงแก่ความตาย โจทก์จัดการแทนบุตร จำเลยเป็นนายตำรวจผู้สืบสวนสอบสวนคดีนั้น ได้ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ คือจดคำพยานไม่ตรงกับคำให้การของพยานโดยไม่ชอบเพื่อช่วยเหลือ ส. มิให้ต้องรับโทษ หรือรับโทษน้อยลง ดังนี้ ใครเป็นผู้เสียหาย โจทก์ ส. แผ่นดิน ข้อ 1, 2 และ 3 เป็นผู้เสียหาย
19. จำเลยออกเช็คพิพาทให้ ส. เพื่อชำระหนี้ ต่อมา ส. นำเช็คดังกล่าวไปแลกเงินสดจากโจทก์ เมื่อเช็คถึงกำหนดโจทก์นำเข้าบัญชีเพื่อเรียกเก็บเงิน ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน ดังนี้ ถือว่าใครเป็นผู้เสียหาย โจทก์ ธนาคาร ส. ข้อ 2 และ 3 เป็นผู้เสียหาย
20. พนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องจำเลยข้อหาวิ่งราวทรัพย์สร้อยข้อมือทองคำหนักสองสลึง 1 เส้น ราคา 2,800 บาท ของผู้เสียหาย และมีคำขอให้คืนหรือใช้ราคาทรัพย์ดังกล่าวแก่ผู้เสียหาย คดีอยู่ระหว่างพิจารณาของศาลฎีกา จำเลยถึงแก่ความตาย สิทธินำคดีอาญามาฟ้องย่อมระงับไปหรือไม่และคำขอให้คืนทรัพย์สินหรือใช้ราคาย่อมตกไปด้วยหรือไม่ สิทธินำคดีอาญามาฟ้องย่อมไม่ระงับไป และคำขอให้คืนทรัพย์สินหรือใช้ราคาย่อมตกไปด้วย สิทธินำคดีอาญามาฟ้องย่อมระงับไป ส่วนคำขอให้คืนทรัพย์สินหรือใช้ราคาย่อมไม่ระงับไป สิทธินำคดีอาญามาฟ้องย่อมไม่ระงับไป และคำขอให้คืนทรัพย์สินหรือใช้ราคาย่อมไม่ระงับไป สิทธินำคดีอาญามาฟ้องย่อมระงับไป และคำขอให้คืนทรัพย์สินหรือใช้ราคาย่อมตกไปด้วย
21. การที่เจ้าพนักงานตำรวจไกล่เกลี่ยไม่ให้ผู้เสียหายเอาเรื่องเพราะทั้งสองฝ่ายเป็นนักเรียน การที่ ผู้เสียหายบอกตำรวจว่าไม่ติดใจเอาเรื่องนั้น ถือว่าเป็นการถอนคำร้องทุกข์หรือยอมความกันแล้วหรือไม่ ยังไม่ถือว่าเป็นการถอนคำร้องทุกข์หรือยอมความกัน ถือว่าเป็นการถอนคำร้องทุกข์หรือยอมความกัน ถือว่าเป็นการถอนคำร้องทุกข์แต่ยังไม่มีการยอมความกัน ไม่ถือว่าเป็นการถอนคำร้องทุกข์แต่ถือว่ายอมความกันแล้ว
22. คดีความผิดต่อส่วนตัวผู้เสียหายขอถอนคำร้องทุกข์ภายในกำหนดระยะเวลาอุทธรณ์ โดยไม่มีคู่ความฝ่ายใดอุทธรณ์ ดังนี้ ผู้เสียหายจะขอถอนคำร้องทุกข์ได้หรือไม่ ได้ ไม่ได้ เป็นดุลยพินิจของศาล ตามข้อ 1, 2 และ 3 พิจารณาประกอบกัน
23. ข้อใดคือพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจชั้นผู้ใหญ่ ผู้ว่าราชการจังหวัด ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ หัวหน้าสถานีตำรวจซึ่งมียศตั้งแต่ชั้นนายร้อยตำรวจตรี หรือ เทียบเท่านายร้อย ถูกทุกข้อ
24. ข้อใดผู้เสียหายมีอำนาจกระทำได้ ร้องทุกข์ เป็นโจทก์ฟ้องคดีอาญา หรือเข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนักงานอัยการ ยอมความในคดีความผิดต่อส่วนตัว ถูกทุกข้อ
25. หญิงผู้เยาว์อายุ 17-18 ปี มีอำนาจร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวนด้วยตนเองในคดีความผิดเกี่ยวกับเพศซึ่งตนเป็นผู้เสียหายที่แท้จริงได้หรือไม่ ได้ ไม่ได้ เป็นดุลยพินิจของพนักงานสอบสวน ต้องให้บิดาร้องทุกข์แทน
26. กรณีที่นิติบุคคลเป็นผู้ต้องหาหรือจำเลยจะทำการจับกุมได้หรือไม่ ได้ ไม่ได้ ได้แต่จะต้องขอให้ศาลออกหมายจับเสียก่อน ไม่มีข้อใดถูก
27. การสอบสวนไต่สวนมูลฟ้องหรือพิจารณาคดีที่นิติบุคคลเป็นผู้ต้องหาหรือจำเลยให้ออกหมายเรียกใคร ผู้จัดการ หรือผู้แทนอื่น ๆ ของนิติบุคคลนั้น ตัวนิติบุคคลนั้น บุคคลที่นิติบุคคลแต่งตั้ง ถูกทุกข้อ
28. คดีใดต่อไปนี้ ที่พนักงานอัยการเมื่อยื่นฟ้องคดีอาญาแล้ว ไม่สามารถเรียกทรัพย์สินหรือราคาแทนผู้เสียหาย ลักทรัพย์ กรรโชก ฉ้อโกง เจตนาทำให้เสียทรัพย์
29. ข้อใดไม่ถูกเกี่ยวกับ การส่งหมายเรียกแก่ผู้ต้องหา ส่งให้แก่บุคคลผู้อื่น ส่งแก่สามีภริยา ส่งแก่ญาติของผู้รับหมายรับแทนนั้น ส่งแก่ผู้ปกครองของผู้รับหมายรับแทนนั้น
30. ในกรณีบุคคลที่ถูกจับตามหมายหลบหนีหรือมีผู้ช่วยให้หนีไปได้ เจ้าพนักงานผู้จับมีอำนาจติดตามจับกุมผู้นั้นโดยไม่ต้องมีหมายอีกได้หรือไม่ ได้ ไม่ได้ ได้เมื่อแจ้งให้ศาลทราบแล้ว ไม่ได้ต้องรายงานต่อผู้บังคับบัญชาเสียก่อน
31. ข้อใดถูก เหตุที่จะออกหมายจับ เมื่อมีหลักฐานตามสมควรว่าบุคคลใดน่าจะได้กระทำความผิดอาญาซึ่งมีอัตราโทษจำคุกอย่างสูงเกินสามปี เหตุที่จะออกหมายจับ เมื่อมีหลักฐานตามสมควรว่าบุคคลใดน่าจะได้กระทำความผิดอาญาและมีเหตุอันควรเชื่อว่าจะหลบหนีหรือจะไปยุ่งเหยิงกับพยานหลักฐานหรือก่อเหตุอันตรายประการอื่น หมายจับคงใช้ได้อยู่จนกว่าจะจับได้ เว้นแต่ความผิดอาญาตามหมายนั้นขาดอายุความหรือศาลซึ่งออกหมายนั้นได้ถอนหมายคืน ถูกทุกข้อ
32. นายเดชใช้อาวุธปืนยิงเจ้าพนักงานตำรวจ แต่ถูกเจ้าพนักงานตำรวจยิงตาย สิทธินำคดีอาญามาฟ้องนายเดชระงับไปหรือไม่ ระงับไป ไม่ระงับ ระงับเฉพาะความผิด ไม่ระงับต้องตกทอดแก่ทายาท
33. พนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องจำเลยข้อหาวิ่งราวทรัพย์สร้อยข้อมือทองคำหนักสองสลึง 1 เส้น ราคา 2,800 บาท ของผู้เสียหาย และมีคำขอให้คืนหรือใช้ราคาทรัพย์ดังกล่าวแก่ผู้เสียหาย คดีอยู่ระหว่างพิจารณาของศาลฎีกา จำเลยถึงแก่ความตาย สิทธินำคดีอาญามาฟ้องย่อมระงับไปหรือไม่และคำขอให้คืนทรัพย์สินหรือใช้ราคาย่อมตกไปด้วยหรือไม่ สิทธินำคดีอาญามาฟ้องย่อมไม่ระงับไป และคำขอให้คืนทรัพย์สินหรือใช้ราคาย่อมตกไปด้วย สิทธินำคดีอาญามาฟ้องย่อมระงับไป ส่วนคำขอให้คืนทรัพย์สินหรือใช้ราคาย่อมไม่ระงับไป สิทธินำคดีอาญามาฟ้องย่อมไม่ระงับไป และคำขอให้คืนทรัพย์สินหรือใช้ราคาย่อมไม่ระงับไป สิทธินำคดีอาญามาฟ้องย่อมระงับไป และคำขอให้คืนทรัพย์สินหรือใช้ราคาย่อมตกไปด้วย
34. การที่เจ้าพนักงานตำรวจไกล่เกลี่ยไม่ให้ผู้เสียหายเอาเรื่องเพราะทั้งสองฝ่ายเป็นนักเรียน การที่ผู้เสียหายบอกตำรวจว่าไม่ติดใจเอาเรื่องนั้น ถือว่าเป็นการถอนคำร้องทุกข์หรือยอมความกันแล้วหรือไม่ ยังไม่ถือว่าเป็นการถอนคำร้องทุกข์หรือยอมความกัน ถือว่าเป็นการถอนคำร้องทุกข์หรือยอมความกัน ถือว่าเป็นการถอนคำร้องทุกข์แต่ยังไม่มีการยอมความกัน ไม่ถือว่าเป็นการถอนคำร้องทุกข์แต่ถือว่ายอมความกันแล้ว
35. เอกสารที่ อ. ผู้เสียหายทำให้จำเลยในความผิดฐานยักยอกมีข้อความระบุว่า อ. รับรองว่า อ.ได้รับการชดใช้ค่าเสียหายจากจำเลยแล้วและไม่ติดใจเอาความต่อไป ถือได้ว่า ผู้เสียหายและจำเลยได้ตกลงยอมความกันแล้ว หรือไม่ ไม่ถือว่าตกลงยอมความกันแล้ว ถือว่าตกลงยอมความกันแล้ว ถือว่าตกลงย่อมความเฉพาะเรื่องค่าเสียหาย ถือเป็นเพียงศาลจะลงโทษน้อยลง
ผลคะแนน = เฉลยคำตอบ:
Tags : วิ.อาญา ป.วิ นายร้อย ตำรวจ นายร้อยตำรวจ ข้อสอบ แนวข้อสอบ